บทความ
กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2022
The role of networked learning in academics writing
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
Abstract This article explores academics’ writing practices, focusing on the ways in which they use digital platforms in their processes of collaborative learning. It draws on interview data from a research project that has involved working closely with academics across different disciplines and institutions to explore their writing practices, understanding academic literacies as situated social practices. The article outlines the characteristics of academics’ ongoing professional learning, demonstrating the importance of collaborations on specific projects in generating learning in relation to using digital platforms and for sharing and collab [1] orating on scholarly writing. A very wide range of digital platforms have been identified by these academics, enabling new kinds of collaboration across time and space on writing and research; but challenges around online learning are also identified, particularly the dangers of engaging in learning in public, the pressures of ‘always-on’
The Effect of Digital Stories on Academic Achievement: A Meta-Analysis
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
Abstract The purpose of this study is to determine the effect of digital stories on academic achievement. In order to achieve this purpose, meta analysis method was used in the study. Within the scope of the study, ERIC, Google Academic, YÖK Thesis Center, ProQuest, Science Direct and ULAKBİM databases were scanned and 23 studies (10 theses, 13 articles) were included in the meta-analysis using the criteria determined by the researchers. Cochran’s X2 (Q = 285,155, p < .05) test was conducted to test whether the studies included in the study were heterogeneous. Random effects model was used to calculate effect size since heterogeneity was determined between studies. At the end of the study, it was seen that the general effect size (Hedge’s g = 1.081) regarding the effect of digital stories on academic achievement was strong, that there was a positive effect in all areas according to the lessons which was higher for Science. It was also observed that the effect was positive in all
Digital Development of Education and Universities: Global Challenges of the Digital Economy
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
Abstract The article deals with the main aspects of the digital technology impact on education. The aim of the research is to collect and analyze most of digital technologies that have been implemented into educational system of Uzbekistan recently and to find out how they have influenced upon the development of the modern educational methods. The paper presents an assessment of the quality of education on the basis of system performance indicators, which makes it possible to evaluate education in the framework of management criteria based on the results of the participants' preparedness for practical activities. Analysing the foreign and domestic experience, the solution was found out to manage the educational system of the higher education organizations. At the same time, the work stipulates that such an approach should not violate the existing academic traditions and prevent commercial orientation of university management. บทความเกี่ยวข้องกับประเด็นหลักของผลกระทบด้านเทคโนโล
Digital transformation of everyday life – How COVID-19 pandemic transformed the basic education of the young generation and why information management research should care?
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
Netta Iivari, Sumita Sharma, Leena Ventä-Olkkonen, Digital transformation of everyday life – How COVID-19 pandemic transformed the basic education of the young generation and why information management research should care?, International Journal of Information Management Volume 55, Pages 1-6. ABSTRACT Children of today have been surrounded by digital technology since their birth. However, children of today are not equally equipped for their technology rich future: various kinds of digital divides still prevail in the society and affect the young generation and their digital futures. Schools and education of children should undergo an extensive digital transformation to be able to meet the needs of the young generation and their digitalized future. The COVID-19 pandemic has suddenly and abruptly forced schools and education indeed to engage in such a transformation. In this study we examine the digital transformation initiated by the COVID-19 pandemic in the basic education of the y
ความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนเอกชนตามแนวคิดอัจฉริยภาพทางดิจิทัลของนักเรียนประถมศึกษา
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
พวงสุรีย์ วรคามิน , นันทรัตน์ เจริญกุล และ พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์.(2563). ความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนเอกชนตามแนวคิดอัจฉริยภาพทางดิจิทัลของนักเรียนประถมศึกษา .วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม–มิถุนายน 2563, หน้า 86-100. บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่ อศึกษา ความต้องการจําเป็น ของ การบริหารวิชาการโรงเรียนเอกชนตามแนวคิด อัจฉริยภาพทางดิจิทัลของนักเรียนประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ โรงเรียนสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการ ส่งเสริม การศึกษาเอกชนที่จัดการเรียน การสอนในระดับชั้นประถมศึกษา จํานวน 3 45 โรงเรียน โดยการสุ่มแบบหลายขั้ นตอน ผู้ให้ข้อมูล ในแต่ละหน่วยตัวอย่าง ได้แก่ ผู้อํานวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และครูผู้สอนรวม ทั้งสิ้น 1,725 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การ บริหารวิชาการโรงเรียนเอกชนตามแนวคิดอัจฉริยภาพทางดิจิทัลของนักเรี ยนประถมศึกษา มี ลักษณะเป็นมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ โดย ได้รับแบบสอบถามคืนมาคิดเป็นร้อยละ 79 . 42 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การแจกแจง ความถ
การบริหารแบบมีส่วนร่วมมที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
สิริกรทิติยวงษ์ และสายสุดาเตียเจริญ.(2557). การบริหารแบบมีส่วนร่วมมที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร .วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ( กรกฎาคม - ธันวาคม 2557), หน้า188-198. บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 3) การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ สถานศึกษาของรัฐที่จัดการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 205 โรงเรียน โดยมีผู้ให้ข้อมูล โรงเรียนละ 3 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาหรือรองฝ่ายวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้และครูรวมทั้งสิ้น 615 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วม ตามแนวคิดของเดวิส ( Davis) กับการบริหารงานวิชาการตามแนวทางของหน่วยศึกษานิเทศก์สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณ
บทบาทของผ้บริหารสถานศึกษากับปัจจัยจูงใจในการทําผลงานทางวิชาการของครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
วาสนา เต่าพาลี.(2559). บทบาทของผ้บริหารสถานศึกษากับปัจจัยจูงใจในการทําผลงานทางวิชาการของครูสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี .วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม-เมษายน 2559, หน้า 275-284. บทคัดย่อ การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ( 1) ระดับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ( 2) ระดับปัจจัยจูงใจในการทำผลงานทางวิชาการของครู ( 3) ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับปัจจัยจูงใจในการทำผลงานทางวิชาการของครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี จำนวน 2,484 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 331 คน ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเลือกตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา และปัจจัยจูงใจในการทำผลงานทางวิชาการของครูสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล
บทความวิชาการการบริหารงานวิชาการในยุคดิจิทัล
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
สุเมธ งามกนก (2564) : การบริหารงานวิชาการในยุคดิจิทัล . วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย , หน้า 59-67. บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้บริหารสถานศึกษาได้เห็นความสำคัญของ การบริหารงานวิชาการ ในยุคดิจิทัล ซี่งถือเป็นภารกิจที่สำคัญของการบริหารโรงเรียนตามที่พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และเป็นงานที่มีความสำคัญที่สุด เป็นหัวใจของการจัดการศึกษา และจาก การ เปลี่ ยนแปลงทางการศึกษาจากการเรียนในห้องเรียนเป็นการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ รูปแบบของการ จัดการศึกษาก็ต้องเปลี่ยนแปลง โดยองค์ประกอบที่สำคัญของสถานศึกษาในยุคดิจิทัลไม่ว่าจะเป็นการ เรียนรู้ในยุ คดิจิทัล เทคโนโลยีทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ผู้เรียนในยุคดิจิทัล และครูในยุคดิจิทัลที่มีการ เปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง ดังนั้น การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลจึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนให้ เหมาะกับยุคสมัย โดยอาศัยการน าของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลที่ต้องมี ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีและ ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม เพื่อรองรับการบริหารสถานศึกษา และการจัดการเรียนการสอนในป
กระบวนการจัดระบบสารสนเทศ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาด้านการบริหารงานวิชาการ ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
การศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กในเขตพื้นที่การศึกษาแม่ฮ่องสอนเขต 1
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กในเขตพื้นที่การศึกษาแม่ฮ่องสอนเขต 1 A Study of the Opinions of Administrators and Teachers about Academic Administration in Small Schools in Maehongson Educational Service Area 1. ชื่อนิสิต ประเวท ปิงชัย Pravet Pingchai ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ประวัติ พื้นผาสุขผศ.ว่าที่ร้อยตรี สกล แก้วศิริ Asst.Prof. Prawat PuenphasookAsst.Prof. Sakol Kaewsiri ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. บัณฑิตวิทยาลัย Chiang Mai Rajabhat University. Chiang Mai (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. (การบริหารการศึกษา) Master. (Educational Administration) ปีที่จบการศึกษา 2549 บทคัดย่อ(ไทย) การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็ก ในเขตพื้นที่การศึกษาแม่ฮ่องสอนเขต 1 โดยกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก ในเขตพื้นที่ การศึกษาแม่ฮ่องสอนเ
การศึกษาการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
Title การศึกษาการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร Title Alternative The study of internal quality assurance management of basic bducation instituions samut sakhon basic educational area Creator Name: เสงี่ยม เป้าเล้ง Organization : โรงเรียนทำนบแพ้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร Subject Classification :.DDC: 370.192 ThaSH: ประกันคุณภาพ Description Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร 2)เพื่อเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา จำแนกตามขนาดสถานศึกษา ตำแหน่งหน้าที่ของบุคลากร และสภาพแวดล้อมในการทำงานด้านการสนับสนุนจากเขตพื้นที่การศึกษา ด้านการได้รับความร่วมมือจากผู้ร่วมงานและด้านการได้รับการฝึกอบรมการประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายวิชาการหรือครูหัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครูที่เป็นกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการประกันคุณภาพภาย